บทที่1
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
1.1 บทนำ
เมื่่อพิจารณาศัพท์คำว่า "คอมพิวเตอร์" ถ้าจะแปลกันตรงตัวตามคำภาษาอังกฤษจะหมายถึงเครื่อง คำนวณ ดังนั้นถ้ากล่าวอย่างกว้างๆ เครื่องคำนวณที่มีส่วนประกอบเป็นเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟ้า
ต่างก็จัดเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ทั้งสิ้น ลูกคิดที่สมัยก่อนเคยใช้กันในร้านค้า ไม้บรรทัดคำนวณ
(Slide Rule) ซึ่งถือเป็นเครื่ิองมือประจำตัววิศกรรมในยุค 40 กว่าปีก่อน หรือ เครื่องคิดเลขล้วนเป็นคอมพิวเตอร์ได้ทั้งหมด
รูปที่1 แสดงภาพลูกคิด
1.2ความหมายของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันความหมายของคอมพิวเตอร์จะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึง เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่
สามารถทำงานคำนวณผล และเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์การจพแนกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะวิธิการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ อนาล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer ) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
1.3 อนาล็อกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer )
อนาล็อกคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้ใช้ค่าตัวเลขเป็นหลักของการคำนวณ แต่จะใช้ค่าระดับแรงดันไฟฟ้าแทน ไม้บรรทัดคำนวณ อาจถือเป็นตัวอย่างหนึ่งของอนาล็อกคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ค่าตัวเลขตามแนวความยาวไม้บรรทัดเป็นหลักของการคำนวณ โดยไม้บรรทัดคำนวณจะมีขีดตัวเลขกำกับอยู่ เมื่อไม้บรรทัดหลายอันมรประกบรวมกัน การคำนวณผล เช่น การคูณ จะเป็นการเลื่อนไม้บรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุดหนึ่ง แล้วไปอ่านผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งอนาล็อกคอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์จะใช้หลักการทำนองเดียวกัน โดยแรงดันไฟฟ้าจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไม้บรรทัด อนาล็อกคอมพิวเตอร์จะมีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทำหน้าที่เป็นตัวกระทำและเป็นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ จึงเหมาะสำหรับงานคำนวณทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมที่อยู่ในรูปของสมการคณิตศาสตร์ เช่น การจำลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจากแผ่นดินไหว ข้อมูลตัวแปรนำเข้าอาจเป็นอุณหภูมิความเร็วหรือความดันอากาศ ซึ่งจะต้องแปลงให้เป็นค่าแรงดันไฟฟ้า เพื่อนำเข้าอนาล็อกคอมพิวเตอร์ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาเป็นแรงดันไฟฟ้าแปรกับเวลาซึ่งต้องแปลงกลับไปเป็นค่าของตัวแปรที่กำลังศึกษา ในปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นอนาล็อกคอมพิวเตอร์เท่าไรนักเพราะผลการคำนวณมีความละเอียดน้อย ทำให้มีขีดจำกัดใช้ได้กับงานเฉพาะบางอย่างเท่านั้น
1.4 ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตำแหน่ง เป็นต้น
เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทำให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสียก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ต่อไป
1.4 ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำงานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการนับ ทำงานกับข้อมูลที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับสัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยมได้หลายตำแหน่ง เป็นต้น
เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นสัญญาณไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทำให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับเข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสียก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไปเป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ต่อไป
1.5 ชนิดของคอมพิวเตอร์
พัฒนา การ ทางคอมพิวเตอร์ ได้ ก้าว หน้า ไป อย่าง รวด เร็ว และ ต่อ เนื่อง จาก อดีต เป็น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ ใช้ หลอดสุญญากาศขนาด ใหญ่ ใช้ พลัง งาน ไฟ ฟ้า มาก และ อายุ การ ใช้ งาน ต่ำ เปลี่ยน มา ใช้ ทรานซิสเตอร์ ที่ ทำ จาก ชิน ซิ ลิ กอนเล็ก ๆ ใช้ พลัง งาน ไฟ ฟ้า ต่ำ และ ผลิต ได้ จำนวน มาก ราคา ถูก ต่อ มา สามารถ สร้าง ทรานซิสเตอร์ จำนวน หลาย แสน ตัว บรรจุ บน ชิ้น ซิ ลิ กอนเล็ก ๆ เป็น วง จร รวม ที่ เรียก ว่า ไมโคร ชิป (microchip) และ ใช้ ไมโคร ชิปเป็น ชิ้น ส่วน หลัก ที่ ประกอบ อยู่ ใน คอมพิวเตอร์ ทำ ให้ ขนาด ของ คอมพิวเตอร์ เล็ก ลงไมโคร ชิปที่ มี ขนาด เล็ก นี้ สามารถ ทำ งาน ได้ หลาย หน้า ที่ เช่น ทำ หน้า ที่ เป็น หน่วย ความ จำ สำหรับ เก็บ ข้อ มูล ทำ หน้า ที่ เป็น หน่วย ควบ คุม อุปกรณ์ รับ เข้า และ ส่ง ออก หรือ ทำ หน้า ที่ เป็น หน่วย ประมวล ผล กลาง ที่ เรียก ว่า ไมโคร โพรเซสเซอร์ ไมโคร โพรเซสเซอร์ หมาย ถึง หน่วย งาน หลัก ใน การ คิด คำนวณ การ บวก ลบ คูณ หาร การ เปรียบ เทียบ การ ดำ เนิน การ ทางตรรกะ ตลอด จน การ สั่ง การ เคลื่อน ข้อ มูล จาก ที่ หนึ่ง ไป ยัง อีก ที่ หนึ่ง หน่วย ประมวล ผล กลาง นี้ เรียก อีก อย่าง ว่า ซี พียู (Central Processing Unit : CPU)
การ พัฒนา ไมโคร ชิปที่ ทำ หน้า ที่ เป็น ไมโคร โพรเซสเซอร์มี การก ระ ทำ อย่าง ต่อ เนื่อง ทำ ให้ มี คอมพิวเตอร์ รุ่น ใหม่ ๆ ที่ ดี กว่า เกิด ขึ้น เสมอ จึง เป็น การ ยาก ที่ จะ จำแนก ชนิด ของ คอมพิวเตอร์ ออก มา อย่าง ชัด เจน เพราะ เทคโนโลยี ได้ พัฒนา อย่าง รวด เร็ว ขีด ความ สามารถ ของ คอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก อาจ มี ประสิทธิภาพ สูง กว่า คอมพิวเตอร์ ขนาด ใหญ่ แต่ อย่าง ไร ก็ ตาม พอ จะ จำแนก ชนิด คอมพิวเตอร์ ตาม สภาพ การ ทำ งาน ของ ระบบ เทคโนโลยี ที่ ประ กอ บอ ยู่ และ สภาพ การ ใช้ งาน ได้ ดัง นี้
1.ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer)
ไมโคร คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี ขนาด เล็ก บาง คน เห็น ว่า เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ งาน ส่วน บุคคล หรือ เรียก ว่า พี ซี (Personal Computer : PC) สามารถ ใช้ เป็นเครื่องต่อ เชื่อม ใน เครือ ข่าย หรือ ใช้ เป็นเครื่องปลาย ทาง (terminal) ซึ่ง อาจ จะ ทำ หน้า ที่ เป็น เพียง อุปกรณ์ รับ และ แสดง ผล สำหรับ ป้อน ข้อ มูล และ ดู ผล ลัพธ์ โดย ดำ เนิน การ การ ประมวล ผล บนเครื่องอื่น ใน เครือ ข่าย
อาจ จะ กล่าว ได้ ว่า ไมโคร คอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี หน่วย ประมวล ผล กลาง เป็น ไมโคร โพรเซสเซอร ์ ใช้ งาน ง่าย ทำ งาน ใน ลักษณะ ส่วน บุคคล ได้ สามารถ แบ่ง แยก ไมโคร คอมพิวเตอร์ ตาม ขนาด ของเครื่องได้ ดัง นี้
เป็น ไมโคร คอมพิวเตอร์ ที่ มี ขนาด เล็ก ถูก ออก แบบ มา ให้ ตั้ง บน โต๊ะ
มี การ แยก ชิ้น ส่วน ประกอบ เป็น ซี พียู จอ ภาพ และ แผง แป้ง อักขระ
แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ (laptop computer)
เป็น ไมโคร คอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก ที่ วาง ใช้ งาน บน ตัก ได้
(Liquid Crystal Display : LCD) น้ำ หนัก ของเครื่องประมาณ 3-8 กิโลกรัม
โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (notebook computer)
เป็น ไมโคร คอมพิวเตอร์ ที่ มี ขนาด และ ความ หนา มาก กว่าแล็ปท็อ ป
น้ำ หนัก ประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม จอ ภาพ แสดง ผล เป็น แบบ ราบ ชนิด มี ทั้ง แบบ แสดง ผล สี เดียว หรือ แบบ หลาย สี โน้ตบุ๊คที่ มี ขาย ทั่ว ไป มี ประสิทธิภาพ และ ความ สามารถ เหมือน
ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer)
เป็น
เช่น
บัน
ที่
2.สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation)
ผู้ ใช้ สถานี งาน วิศวกรรม ส่วน ใหญ่ เป็น วิศวกร นัก วิทยา ศาสตร์ สถาปนิก และ นัก ออก แบบ สถานี งาน วิศวกรรม มี จุด เด่น ใน เรื่อ งก รา ฟิก การ สร้าง รูป ภาพ และ การ ทำ ภาพ เคลื่อน ไหว การ เชื่อม โยง สถานี งาน วิศวกรรม รวม กัน เป็น เครือ ข่าย ทำ ให้ สามารถ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล และ ใช้ งาน ร่วม กัน อย่าง มี ประสิทธิภาพบริษัท พัฒนา ซอฟต์แวร์หลาย บริษัท ได้ พัฒนา ซอฟต์แวร์สำเร็จ สำหรับ ใช้กับสถานี งาน วิศวกร รม ขึ้น เช่น โปรแกรม การ จัด ทำ ต้น ฉบับ หนังสือ การ ออก แบบ วง จร อิเล็กทรอนิกส์ งาน จำลอง และ คำนวณ ทางวิทยา ศาสตร์ งาน ออก แบบ ทางด้าน วิศวกรรม และ การ ควบ คุมเครื่องจักรการ ซื้อ สถานี งาน วิศวกรรม ต่าง จาก การ ซื้อเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ เพราะ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องสามารถ ใช้ โปรแกรม สำเร็จ สำหรับ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ได้ และ มี ลักษณะ การ ใช้ งาน เหมือน กัน ส่วน การ ซื้อ สถานี งาน วิศวกรรม นั้น ยุ่ง ยาก กว่า สถานี งาน วิศวกรรม มี ราคา แพง กว่า ไมโคร คอมพิวเตอร์ มาก การ ใช้ งาน ก็ ต้อง การ บุคลากร ที่ มี การ ฝึกหัดมา อย่าง ดี หรือ ต้อง ใช้ เวลา เรียน รู้สถานี งาน วิศวกรรม ส่วน ใหญ่ ใช้ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์ ประสิทธิภาพ ของ ซี พียูของ ระบบ อยู่ ใน ช่วง 50-100ล้าน คำ สั่ง ต่อ วินาที (Million Instruction Per Second : MIPS) อย่าง ไร ก็ ตาม หลัก จาก ที่ ใช้ ซี พียูแบบ ริสก์ (Reduced Instruction Set Computer :RISC) ก็ สามารถ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ เชิง คำนวณ ของ ซี พียูสูง ขึ้น ได้ อีก ทำ ให้ สร้าง สถานี งาน วิศวกรรม ให้ มี ขีด ความ สามารถ เชิง คำนวณ ได้ มาก กว่า 100 ล้าน คำ สั่ง ต่อ วินาที
3.มินิคอมพิวเตอร์ (mini computer)
มิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องที่ สามารถ ใช้ งาน พร้อม ๆ กัน ได้ หลาย คน จึง มีเครื่องปลาย ทางต่อ ได้ มิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็น คอมพิวเตอร์ ที่ มี ราคา สูง กว่า สถานี งาน วิศวกรรม นำ มา ใช้ สำหรับ ประมวล ผล ใน งาน สาร สนเทศ ของ องค์ การ ขนาด กลาง จน ถึง องค์ การ ขนาด ใหญ่ ที่ มี การ วาง ระบบ เป็น เครือ ข่าย เพื่อ ใช้ งาน ร่วม กัน เช่น งาน บัญชี และ การ เงิน งาน ออก แบบ ทางวิศวกรรม งาน ควบ คุม การ ผลิต ใน โรง งาน อุตสาหกรรมมิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็น อุ ปกรณืที่ สำคัญ ใน ระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ ของ องค์ การ ที่ เรียกว่าเครื่อให้ บริการ (server) มี หน้า ที่ ให้ บริการกับผู้ ใช้ บริการ (client) เช่น ให้ บริการ แฟ้ม ข้อ มูล ให้ บริการ ข้อ มูล ให้ บริการ ช่วย ใน การ คำนวณ และ การ สื่อ สาร
4.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาด ใหญ่ ที่ มี การ พัฒนา มา ตั้ง แต่ เริ่ม แรก เหตุ ที่ เรียก ว่า เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ เพราะ ตัวเครื่องประกอบ ด้วย ตู้ ขนาด ใหญ่ ที่ ภาย ใน ตู้ มี ชิ้น ส่วน และ อุ ปกรณ์ ต่าง ๆ อยู่ เป็น จำนวน มาก แต่ อย่าง ไร ก็ ตาม ใน ปัจจุบันเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ มี ขนาด ลด ลง มากเมนเฟรม เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี ราคา สูง มาก มัก อยู่ ที่ ศูนย์ คอมพิวเตอร์ หลัก ของ องค์ การ และ ต้อง อยู่ ใน ห้อง ที่ มี การ ควบ คุม อุณหภูมิ และ มี การ ดู แล รักษา เป็น อย่าง ดีบริษัท ผู้ ผลิตเมนเฟรม ได้ พัฒนา ขีด ความ สามารถ ของเครื่องให้ สูง ขึ้น ข้อ เด่น ของ การ ใช้เมนเฟรม อยู่ ที่ งาน ที่ ต้อง การ ให้ มี ระบบ ศูนย์ กลาง และ กระจาย การ ใช้ งาน ไป เป็น จำนวน มาก เช่น ระบบ เอ ทีเอ็มซึ่ง เชื่อม ต่อกับฐาน ข้อ มูล ที่ จัด การ โดยเครื่องเมนเฟรม อย่าง ไร ก็ ตาม ขนาด ของเมนเฟรม และ มิ นิ คอมพิวเตอร์ ก็ ยาก ที่ จะ จำแนก จาก กัน ให้ เห็น ชัดปัจจุบันเมนเฟรม ได้ รับ ความ นิยม น้อย ลง ทั้ง นี้ เพราะ คอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก มี ประสิทธิภาพ และ ความ สามารถ ดี ขึ้น ราคา ถูก ลง ขณะ เดียว กัน ระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ ก็ ดี ขึ้น จน ทำ ให้ การ ใช้ งาน บน เครือ ข่าย กระ ทำ ได้ เหมือน การ ใช้ งาน บนเมนเฟรม
5.ซูปปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ เหมาะกับงาน คำนวณ ที่ ต้อง มี การ คำนวณ ตัว เลข จำนวน หลาย ล้าน ตัว ภาย ใน เวลา อัน รวด เร็ว เช่น งาน พยากรณ์ อากาศ ที่ ต้อง นำ ข้อ มูล ต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศ ทั้ง ระดับ ภาค พื้น ดิน และ ระดับชึ้นบรรยากาศ เพื่อ ดู การ เคลื่อน ไหวและ การ เปลี่ยน แปลง ของ อากาศ งาน นี้ จำ เป็น ต้อง ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี สมรรถนะ สูง มาก นอก จาก นี้ มี งาน อีก เป็น จำนวน มาก ที่ ต้อง ใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่ง มี ความ เร็ว สูง เช่น งาน ควบ คุมขีปนาวุะ งาน ควบ คุม ทา งอวกาศ งาน ประมวล ผล ภาพ ทางการ แพทย์ งาน ด้าน วิทยา ศาสตร์ โดย เฉพาะ ทางด้าน เคมี เภสัช วิทยา และ งาน ด้าน วิศวกรรม การ ออก แบบซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ได้ เร็ว และ มี ประสิทธิภาพ สูง กว่า คอมพิวเตอร์ ชนิด อื่น การ ที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ได้ เร็ว เพราะ มี การ พัฒนา ให้ มี โครง สร้าง การ คำนวณ พิเศษ เช่น การ คำนวณ แบบ ขนาน ที่ เรียก ว่า เอ็มพี พี (Massively Parallel Processing : MPP) ซึ่ง เป็น การ คำนวณ ที่ กระ ทำกับข้อ มูล หลาย ๆ ตัว ใน เวลา เดียว กัน
คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทำงานของส่วนต่างๆ
ที่มีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานหลักคือ Input Process และ output ซึ่งมีขั้นตอนการทำงานดังภาพ
เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น
เมื่อนำข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม
นำข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น
ต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม
นำข้อมูลมาหาค่ามากที่สุด หรือน้อยที่สุด เป็นต้น
เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กำหนดไว้ โดยทั่วไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้
1.7 วัตถุประสงค์ของคอมพิวเตอร์
1. ความเร็ว (Speed) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูงมาก ซึ่งหน่วยความเร็วของการทำงานของคอมพิวเตอร์วัดเป็น
- มิลลิเซกัน (Millisecond) ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1000 วินาที หรือ ของวินาที - ไมโครเซกัน (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วินาที หรือของวินาที - นาโนเซกัน (Nanosecond) ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000,000 วินาที หรือของวินาที
ความเร็วที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละยุค ซึ่งได้มีการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลข้อมูล ได้เร็วในเวลาไม่เกิน 1 วินาที จะทำให้คอมพิวเตอร์มีบทบาทในการนำมาเป็นเครื่องมือใช้งานอย่างดียิ่ง หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน
2. หน่วยความจำ (Memory) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยความจำ ซึ่งสามารถใช้บันทึกและเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถเก็บคำสั่ง (Instructions) ต่อๆกันได้ที่เราเรียกว่าโปรแกรม แลนำมาประมวลในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นปัจจัยทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานเก็บข้อมูลได้ครั้งละมากๆ เช่น การสำรวจสำมะโนประชากร หรือรายงานผลการเลือกตั้งซึ่งทำให้มีการประมวลได้รวดเร็วและถูกต้อง จากการที่หน่วยความจำสามารถบันทึกโปรแกรมและข้อมูลไว้ในเครื่องได้ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติพิเศษ คือสามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติ ในกรณีที่มีงานที่ต้องทำซ้ำๆหรือบ่อยครั้งถ้าใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานเหล่านั้นก็จะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงซึ่งจะได้ทั้งความรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยำและประหยัดเนื่องจากการเขียนคำสั่งเพียงครั้งเดียวสามารถทำงานซ้ำๆได้คราวละจำนวนมากๆ
3. ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วยคำนวณและตรรกะซึ่งนอกจากจะสามารถในการคำนวณแล้วยังสามารถใช้ในการเปรียบเทียบซึ่งความสามารถนี้เองที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกับเครื่องคิดเลข และคุณสมบัตินี้ทีทำให้นักคอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นใช้อย่างกว้างขวาง เช่นการจัดเรียงข้อมูลจำเป็นต้องใช้วิธีการเปรียบเทียบ การทำงานซ้ำๆตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือการใช้คอมพิวเตอร์ในกิจการต่างๆซึ่งเกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน และการใช้แรงงานจากคอมพิวเตอร์แทนแรงงานจากมนุษย์ทำให้รวดเร็วถูกต้อง สะดวกและแม่นยำ เป็นการผ่อนแรงมนุษย์ได้เป็นอย่างมาก
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
-ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน
1.8ประโยชน์คอมพิวเตอร์
จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างานประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้
- งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
- งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยำกว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็วขึ้น
- งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็ใช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
- งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะคำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทำงาน
- งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น
- การศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น