บทที่ 7
โมเด็มและการ์ดแสดงเสียง
7.1 บทนำ
โมเด็ม เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะลอก และแปลงสัญญาณแอนะลอกกลับเป็นดิจิทัล มาจากคำว่า MOdelatory/DEModulator กระบวนการแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะลอก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modlation) และกระบวนการแปลงสัญญาณแอนะลอกกลับเป็นดิจิทัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation)โดยวิธีการจะเป็นการแปลงรูปทรงของคลื่นเพื่อให้สามารถรับรู้สารสนเทศแบบดิจิทัลได้เท่านั้น เช่น กรรมวิธีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่น (frequency) รอบคลื่นปกติในคาบเวลาที่กำหนดให้อาจใช้แทนบิต 0 หรือกรรมวิธีเปลี่ยนแปลงช่วงกว้างของคลื่น (amplitude) อาจใช้แทนบิต 1 นั่นคือ ความสูงของคลื่นปกติอาจมีนัยนะแทน 1 ในขณะที่คลื่นที่ต่ำกว่าใช้แทน 0 เนื่องเพราะว่า คุณสมบัติของคลื่นย่อมไม่อาจแปลงรูปทางเป็นลักษณะเปิด/ปิด เพื่อแทนสัญญาณดิจิทัลได้อย่างตรงๆดังนั้น จะพบว่าโมเด็มจึงมีลักษณะผสมผสานเพราะว่ามันไม่สามารถส่งผ่านสัญญาณดิจิทัลโดยคงคุณสมบัติทั้งหมดไว้ได้โดยสมบูรณ์ ดังนั้งจึงได้มีการพัฒนาทางเลือกใหม่ๆ เช่น ISDN, ADSL เป็นต้น
แสดงภาพโมเด็มแบบภายนอกกับแบบภายใน |
แสดงการติดต่อสื่อสารของโมเด็ม โมเด็มเป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ในระบบออนไลน์ (online) หรือการใช้บริการอินเทอร์เน็ต และในปัจจุบันนั้นโมเด็มมีหลายรูปแบบ รวมทั้งการติดตั้งใช้งานและมีความเร็วที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นในการเลือกซื้อและเลือกใช้งานนั้นเป็นเรื่องยุ่งยาก ดังนั้นในการเลือกซื้อโมเด็มจึงควรมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ |
7.3 มาตรฐานต่างๆ ของโมเด็ม
สมัยแรก ๆ โมเด็มที่มีใช้งาน จะมีความเร็วแค่เพียง 1,200 bps เท่านั้น และได้มีการพัฒนาความเร็วให้มากขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน ความเร็วของโมเด็มจะอยู่ที่ 56Kbps มาตราฐานของโมเด็มแต่ละรุ่นตามตารางต่อไปนี้
มาตราฐาน
|
Baud Rate
|
Bit Rate
|
V.32 bis
|
2,400
|
7,200/9,600/12.000/14,400
|
V.fast, V.FC
|
2,400
|
28,800
|
V.34
|
2,400
|
28,800
|
V.34+
|
2,400
|
33,600
|
X2
|
2,400
|
57,600
|
K56 Flex
|
2,400
|
57,600
|
V.90
|
2,400
|
57,600
|
Baud Rate คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของลูกคลื่นสัญญาณ โดยมากจะมีค่าเป็น 2,400
Bit Rate คืออัตราการส่งข้อมูล ที่สามารถรับส่งได้จริง
Bit Rate คืออัตราการส่งข้อมูล ที่สามารถรับส่งได้จริง
ในส่วนของโมเด็มที่มีความเร็วสูงกว่า 33.6Kbps หรือที่เห็นเป็น 56Kbps นั้น ความจริงแล้วจะมีอัตราการรับข้อมูลได้สูงสุด ไม่เกิน 53Kbpsและสามารถส่งข้อมูลได้สูงสุดเพียงแค่ประมาณ 33.6Kbps เท่านั้น ลองนึกภาพการเอาโมเด็มแบบ 56Kbps 2 ตัวมาต่อกันโดยตรง จะเห็นว่าถ้าหากอัตราการส่งข้อมูล จะได้ไม่เกิน 33.6Kbps หมายความว่า เราจะสามารถต่อโมเด็ม 2 ตัวด้วยกันตรง ๆ ได้ความเร็วไม่เกิน 33.6Kbps นะครับ หลายท่านคงจะงง ว่าแล้วที่เห็นความเร็วได้สูงกว่านั้นล่ะ คืออะไร คำตอบก็คือระบบ โมเด็มที่ ISP ส่วนใหญ่ใช้งานกันในการให้บริการด้วยความเร็ว56Kbps จะเป็นการต่อโดยตรง เข้ากับชุมสายโทรศัพท์แบบดิจิตอล จึงทำให้สามารถส่งข้อมูลที่ความเร็วสูงสุด 53Kbps ได้ (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพ ของคู่สายและองค์ประกอบอื่น ๆ ด้วย)
นอกจากนี้ หากการเชื่อมต่อโมเด็มในแบบ 56Kbps โดยมีการต่อผ่านระบบ PABX หรือระบบโทรศัพท์ตู้สาขาต่าง ๆ (เช่น ตามหอพักหรือโรงแรม) จะสามารถเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงสุดที่ประมาณ 33.6Kbps เท่านั้น ด้วยเหตุผลที่ว่า ระบบ PABX จะมีการลดทอนระดับสัญญาณต่าง ๆ ลงไปอีก หากต้องการต่อใช้งานให้ได้ความเร็วใกล้เคียงกับ 56Kbps ก็ต้องต่อโดยใช้ สายโทรศัพท์ที่เป็นสายตรงจากชุมสายโทรศัพท์เท่านั้น
นอกจากนี้ หากการเชื่อมต่อโมเด็มในแบบ 56Kbps โดยมีการต่อผ่านระบบ PABX หรือระบบโทรศัพท์ตู้สาขาต่าง ๆ (เช่น ตามหอพักหรือโรงแรม) จะสามารถเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงสุดที่ประมาณ 33.6Kbps เท่านั้น ด้วยเหตุผลที่ว่า ระบบ PABX จะมีการลดทอนระดับสัญญาณต่าง ๆ ลงไปอีก หากต้องการต่อใช้งานให้ได้ความเร็วใกล้เคียงกับ 56Kbps ก็ต้องต่อโดยใช้ สายโทรศัพท์ที่เป็นสายตรงจากชุมสายโทรศัพท์เท่านั้น
7.4 มาตรฐานของ x2, K56 Flex c]t V.90
ครั้งแรกที่มีการคิดมาตราฐานของโมเด็มที่มีความเร็วสูงกว่า 33.6Kbps หรือที่เรียกว่า 56Kbps จะมีอยู่ 2 มาตราฐานที่เกิดขึ้นมาก่อน แต่ไม่สามารถใช้งานด้วยกันได้ นั่นคือ X2 และ 56K Flex ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานโมเด็ม ของทั้งสองมาตราฐานนี้ จะต้องใช้งานกับ ISP ที่รองรับระบบนั้น ๆ เท่านั้น ต่อมา เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหานี้ และการทำให้เป็นมาตราฐานเดียวกัน จึงได้มีมาตราฐาน V.90 เกิดขึ้นสำหรับการใช้งานในความเร็ว56Kbps ซึ่งโมเด็มหลาย ๆ ยี่ห้อก็จะมีความสามารถ upgrade จากระบบเดิมให้เป็นแบบ V.90 ได้ด้วย ดังนั้นหากจะเลือกซื้อโมเด็มมาใช้งานในปัจจุบัน ควรเลือกยี่ห้อหรือรุ่นที่รองรับมาตราฐาน V.90 ไว้ด้วย เพื่อจะได้ไม่มีปัญหาในการใช้งาน
7.5 การแบ่งประเภทของโมเด็ม
7.5 การแบ่งประเภทของโมเด็ม
ประเภทของโมเด็ม จำแนกตามอินเตอร์เฟตหรือการติดต่อในการทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้ 3 ชนิดหลักๆ คือ
Modem แบบติดตั้งภายใน (Internal Modem)
Modem แบบที่เป็นการ์ดเสียบเข้ากับสล็อตในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั้นเอง จุดเด่นของโมเด็มแบบติดตั้งภายในก็คือ ราคาถูกกว่า ไม่เปลืองพื้นที่ใช้สอยเพราะโมเด็มถูกติดตั้งไว้ในตัวเครื่องแล้ว กินไฟน้อยด้วย และส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบติดตั้งภายนอกสำหรับโมเด็มแบบนี้รุ่นใหม่ๆ จะติดตั้งง่ายมากด้วยระบบ plug & play ส่วนข้อด้อยก็คือ เมื่อทำงานไปนานๆ จะเกิดความร้อนะสะสมภายในเครื่อง แถมยังกินไฟจากเพาเวอร์ซัพพลาย ด้วย และยังมีปัญหาการมี IRQ ขัดแย้งกับอุปกรณ์หลายตัวภายในเครื่องอีกด้วย การเลือกชื้อ Modem แบบติดตั้งภายใน ยังมีส่วนที่คำนึงถึงอีกอย่างก็คือ แบบของสล็อตที่ว่างอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา คุณต้องเปิดดูแล้วล่ะครับว่า สล็อตที่วางอยู่บนเมนบอร์ดเป็นสล็อตแบบใหน ซึ่งสล็อตที่ว่านี้จะมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ PCI กับแบบ ISA เพราะคุณต้องซื้อให้ถูกไม่งั้นก็เสียบไม่ได้ แต่ถ้าบังเอิญว่าบนเมนบอร์ดของคุณมีสล็อตเหลืออยู่ทั้งแบบ PCI และ ISA ก็ให้เลือกใช้แบบ PCI นะครับ เพราะ แบบ PCI ราคาถูกกว่าและ ทำงานได้เร็วกว่าด้วยครับ Modem แบบติดตั้งภายในจะติดตั้งได้เฉพาะเครื่องคอมแบบ PC เท่านั้นไม่สามารถใช้งานกับ NoteBook ได้
Modem แบบที่เป็นการ์ดเสียบเข้ากับสล็อตในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั้นเอง จุดเด่นของโมเด็มแบบติดตั้งภายในก็คือ ราคาถูกกว่า ไม่เปลืองพื้นที่ใช้สอยเพราะโมเด็มถูกติดตั้งไว้ในตัวเครื่องแล้ว กินไฟน้อยด้วย และส่งข้อมูลได้เร็วกว่าแบบติดตั้งภายนอกสำหรับโมเด็มแบบนี้รุ่นใหม่ๆ จะติดตั้งง่ายมากด้วยระบบ plug & play ส่วนข้อด้อยก็คือ เมื่อทำงานไปนานๆ จะเกิดความร้อนะสะสมภายในเครื่อง แถมยังกินไฟจากเพาเวอร์ซัพพลาย ด้วย และยังมีปัญหาการมี IRQ ขัดแย้งกับอุปกรณ์หลายตัวภายในเครื่องอีกด้วย การเลือกชื้อ Modem แบบติดตั้งภายใน ยังมีส่วนที่คำนึงถึงอีกอย่างก็คือ แบบของสล็อตที่ว่างอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา คุณต้องเปิดดูแล้วล่ะครับว่า สล็อตที่วางอยู่บนเมนบอร์ดเป็นสล็อตแบบใหน ซึ่งสล็อตที่ว่านี้จะมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ PCI กับแบบ ISA เพราะคุณต้องซื้อให้ถูกไม่งั้นก็เสียบไม่ได้ แต่ถ้าบังเอิญว่าบนเมนบอร์ดของคุณมีสล็อตเหลืออยู่ทั้งแบบ PCI และ ISA ก็ให้เลือกใช้แบบ PCI นะครับ เพราะ แบบ PCI ราคาถูกกว่าและ ทำงานได้เร็วกว่าด้วยครับ Modem แบบติดตั้งภายในจะติดตั้งได้เฉพาะเครื่องคอมแบบ PC เท่านั้นไม่สามารถใช้งานกับ NoteBook ได้
Modem แบบติดตั้งภายนอก (External Modem)
โดยจะต่อกับ Serial Port อาจจะเป็นที่ USB, Com1 หรือ Com2 และจะมี Case และ Power Supply ต่างหาก โดยจะทำการเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทาง Communication Port หรือ Port RS232 ข้อดีของ Modem แบบนี้ก็คือ บนตัว Modem เองจะมีไฟบอกสถานะการทำงาน เพื่อบอกให้ผู้ใช้ทราบว่า ตัว Modem ยัง Connect อยู่อย่างปกติหรือไม่ และนอกจากนี้ การที่ตัว Modem มี Power Supply แยกต่างหากก็ทำให้ไม่ต้องไปใช้ Power ร่วมกับ CPU หรืออุปกรณ์อื่น และข้อดีอีกอย่าง Modem แบบ Extennal สะดวกมากในการย้ายไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เพราะเพียงถอดสายที่ต่ออยู่กับ Com Port ก็สามารถยก Modem ไปใช้ได้เลย เมื่อมีข้อดี ก็ย่อมจะมีข้อเสีย สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดก็คือ ต้องมีพื้นที่พอที่จะวางตัว Modem ที่ต้องติดตั้งอยู่ภายนอกกล่อง CPU และข้อเสียอีกอย่างก็คือ ราคาค่อนข้างจะสูงเมื่อเทียบกับ Modem แบบ Internalที่ความเร็วเท่ากัน
โดยจะต่อกับ Serial Port อาจจะเป็นที่ USB, Com1 หรือ Com2 และจะมี Case และ Power Supply ต่างหาก โดยจะทำการเชื่อมต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทาง Communication Port หรือ Port RS232 ข้อดีของ Modem แบบนี้ก็คือ บนตัว Modem เองจะมีไฟบอกสถานะการทำงาน เพื่อบอกให้ผู้ใช้ทราบว่า ตัว Modem ยัง Connect อยู่อย่างปกติหรือไม่ และนอกจากนี้ การที่ตัว Modem มี Power Supply แยกต่างหากก็ทำให้ไม่ต้องไปใช้ Power ร่วมกับ CPU หรืออุปกรณ์อื่น และข้อดีอีกอย่าง Modem แบบ Extennal สะดวกมากในการย้ายไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เพราะเพียงถอดสายที่ต่ออยู่กับ Com Port ก็สามารถยก Modem ไปใช้ได้เลย เมื่อมีข้อดี ก็ย่อมจะมีข้อเสีย สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดก็คือ ต้องมีพื้นที่พอที่จะวางตัว Modem ที่ต้องติดตั้งอยู่ภายนอกกล่อง CPU และข้อเสียอีกอย่างก็คือ ราคาค่อนข้างจะสูงเมื่อเทียบกับ Modem แบบ Internalที่ความเร็วเท่ากัน
Modem แบบ PCMCIA
PCMCIA หรือ PC Card เป็นโมเด็มที่มีขนาดเล็กที่สุด มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ้ค ส่วนประกอบของโมเด็มชนิดนี้จะมีลักษณะคล้ายกับโมเด็มชนิดติดตั้งภายใน ราคาค่าตัวค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับแบบอื่น
PCMCIA หรือ PC Card เป็นโมเด็มที่มีขนาดเล็กที่สุด มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ้ค ส่วนประกอบของโมเด็มชนิดนี้จะมีลักษณะคล้ายกับโมเด็มชนิดติดตั้งภายใน ราคาค่าตัวค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับแบบอื่น
Modem แบบ ADSL
ADSL เป็นโมเด็มที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ที่เป็นระบบ ADSL เท่านั้น เนื่องจาก ระบบนี้เป็นระบบที่ทำให้ ความเร็วของอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นมาก จึงทำให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตบางราย เปิดให้บริการ ADSL ด้วย โมเด็มชนิดนี้เมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้วไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ เสียค่าอินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ซึ่งก็ไม่แพงจากค่าอินเทอร์เน็ตจากปกติ โมเด็มชนิดนี้ ผู้ที่จะซื้อมาใช้ หมายเลขโทรศัพท์ที่จะเชื่อมต่อต้องเป็นของ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเท่านั้น
ADSL เป็นโมเด็มที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ที่เป็นระบบ ADSL เท่านั้น เนื่องจาก ระบบนี้เป็นระบบที่ทำให้ ความเร็วของอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นมาก จึงทำให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตบางราย เปิดให้บริการ ADSL ด้วย โมเด็มชนิดนี้เมื่อใช้อินเทอร์เน็ตแล้วไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ เสียค่าอินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ซึ่งก็ไม่แพงจากค่าอินเทอร์เน็ตจากปกติ โมเด็มชนิดนี้ ผู้ที่จะซื้อมาใช้ หมายเลขโทรศัพท์ที่จะเชื่อมต่อต้องเป็นของ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเท่านั้น
7.6 การเลือกใช้งานโมเด็ม
|
7.7 การติดตั้งโมเด็ม
ALT-F10 HELP | ANSI-BBS | FDX | 9600 N81 | LOG CLOSED | PRT OFF | CR | CR |
LINE SETTINGS |
CURRENT SETTINGS : 9600, N, 8, COM1 |
1) 300, E, 7, 1 7) 300, N 8, 1 |
2) 1200, E, 7 ,1 8) 1200, N, 8, 1 |
3) 2400, E, 7 ,1 8) 2400, N, 8, 1 |
4) 4800, E, 7 ,1 8) 4800, N, 8, 1 |
5) 9600, E, 7 ,1 8) 9600, N, 8, 1 |
6) 19200, E, 7 ,1 8) 19200, N, 8, 1 |
Parity Data Bits Stop Bits |
13) ODD 16) 7 bits 18) 1 bits |
14) MARK 17) 8 bits 19) 2 bits |
15) SPACE |
20) COM1 21) COM2 22) COM3 23) COM4 |
24) Save chang YOUR CHOICE : |
Press ESC to return |
7.8การ์ดแสดงเสียง
การ์ดแสดงสัญญาณเสียง (Sound Card)เป็นอุปรณ์สร้างและจัดการกับระบบเสียงทั้งหมดภายในเครื่ิองพีซี เช่น เล่นไฟล์เสียงในรูปแบบต่างๆ, เสียงดนตรีตามคำสั่งแบบ MIDI , บันทึกและแปลงเสียงลงเป็นไฟล์แบบดิจิตอล, ตลอดจนผสม (Mix) เสียงจากหลายๆแห่งที่มาเข้าด้วยกัน เป็นต้น
ส่วนประกอบของการ์ดเสียง
A*อินเตอร์เฟส เป็นส่วนที่เชื่อมต่อเข้ากับสล็อตบนเมนบอร์ด ปัจจุบันซาวด์การ์ดแทบทุกรุ่นจะใช้อินเตอร์เฟสที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบบัสแบบ PCI แทบทั้งสิ้น
B*Synthesizer เป็นชิปตัวประมวลผลหลักที่ทำหน้าที่สร้างหรือสังเคราะห์สัญญาณเสียงขึ้นมาตามคำสั่งที่ได้รับ โดยใช้การสังเคราะห์แบบ FM หรือแบบ Wavetable
C*Digital I/O Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อกับการ์ด Digital I/O
D*AUX Connector เป็นช่างที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์จำพวกการ์ด TV Tuner หรือ MPEG2 Decoder เป็นต้น
E*Telephone Answering Device Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ Voice Modem เพื่อรับส่งและส่งสัญญาณเสียงกับโมเด็ม
F*Analog/Digital Out jack เป็นช่องที่ใช่เชื่อมต่อเข้ากับลำโพง Center และ Sub-woofer หรือใช้สัญญาณเสียงไปยังอุปกรณ์ที่ทำงานด้วยระบบดิจิตอล
G*Line In jack เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกเเพื่อรับสัญญารเสียงเข้าสู้การ์ด เช่น เครื่องเล่นเทป และเครื่องเล่นมินิดิสก์ เป็นต้น
H*Microphone In jack เป็นช่องที่ใช้เสียบเข้ากับอุปกรณ์จำพวกไมโครโฟน เพื่อใช้ในการบันทึกเสียงหรือแปลงสัญาณเสียงไปเป็นไฟฟ้า (ลนาล็อก-สเตอริโอ)
I*Line Out jack เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับชุดลำโพงแบบ 5.1 Channel โดยใช้เชื่อมต่อเข้ากับลำโพงคู่หลัง (ซ้าย-ขวา)
K*MID/Joystick Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ MIDI หรืออุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการเล่นเกมเช่น Joystick และบังคับพวกพวงมาลัย เป็นต้น
B*Synthesizer เป็นชิปตัวประมวลผลหลักที่ทำหน้าที่สร้างหรือสังเคราะห์สัญญาณเสียงขึ้นมาตามคำสั่งที่ได้รับ โดยใช้การสังเคราะห์แบบ FM หรือแบบ Wavetable
C*Digital I/O Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อกับการ์ด Digital I/O
D*AUX Connector เป็นช่างที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์จำพวกการ์ด TV Tuner หรือ MPEG2 Decoder เป็นต้น
E*Telephone Answering Device Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ Voice Modem เพื่อรับส่งและส่งสัญญาณเสียงกับโมเด็ม
F*Analog/Digital Out jack เป็นช่องที่ใช่เชื่อมต่อเข้ากับลำโพง Center และ Sub-woofer หรือใช้สัญญาณเสียงไปยังอุปกรณ์ที่ทำงานด้วยระบบดิจิตอล
G*Line In jack เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกเเพื่อรับสัญญารเสียงเข้าสู้การ์ด เช่น เครื่องเล่นเทป และเครื่องเล่นมินิดิสก์ เป็นต้น
H*Microphone In jack เป็นช่องที่ใช้เสียบเข้ากับอุปกรณ์จำพวกไมโครโฟน เพื่อใช้ในการบันทึกเสียงหรือแปลงสัญาณเสียงไปเป็นไฟฟ้า (ลนาล็อก-สเตอริโอ)
I*Line Out jack เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับชุดลำโพงแบบ 5.1 Channel โดยใช้เชื่อมต่อเข้ากับลำโพงคู่หลัง (ซ้าย-ขวา)
K*MID/Joystick Connector เป็นช่องที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ MIDI หรืออุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการเล่นเกมเช่น Joystick และบังคับพวกพวงมาลัย เป็นต้น
7.9 ชนิดของการ์ดเสียง
ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ซึ่งแบ่งชนิดออกตามอดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่
1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
รูปภาพ 3 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ ISA
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
รูปภาพ 4 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ PCI
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น
รูปภาพ 5 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ External
1. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ ISA ซึ่งผลิตออกมานานแล้วจะใช้ร่วมกับเมนบอร์ดรุ่นเก่าที่มีสล็อต ISA ระบบเสียงยังไม่ได้คุณภาพ แต่ก็เป็นการ์ดเสียง ที่ได้รับการนิยมในสมัยอดีด แต่ในปัจจุบันการ์ดเสียงแบบ ISA ไม่มีแล้ว
รูปภาพ 3 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ ISA
2. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ PCI เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถสังเคราะห์เสียงได้อย่างมีคุณภาพและมีราคาไม่แพงมากแต่ก็มีราคาแพงในบางรุ่น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
รูปภาพ 4 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ PCI
3. การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ชนิดของการ์ดเสียง (Sound Card) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท แต่ที่จัด การ์ดเสียง (Sound Card) แบบ External ออกเป็นประเภทที่ 3 ก็เพราะว่าการ์ดเสียงแบบนี้เริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังมีการติดตั้งที่แตกต่างจาก การ์ดเสียง (Sound Card) ที่บอกมาข้างต้นด้วย โดยสามารถที่จะติดตั้งโดยผ่านทางพอร์ต USB ทำให้ในการใช้งานนั้นสามารถทำได้ง่ายยิ่งขึ้น
รูปภาพ 5 แสดงการ์เสียง (sound Card) ที่เป็นแบบ External
7.10การติดตั้งการ์ดเสียง
าร์ดเสียงรุ่นใหม่ๆที่ขายอยู่ในท้องตลาดทุกวันนี้จะเป็นการ์ดแบบ PCI ขั้นตอนการติดตั้งจะคล้ายกับการ์ดแลน แต่จะมีการติดตั้งสายสัญญาณเสียงเข้ากับซีดีรอมไดรว์ด้วยเท่านั้นตามขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมการ์ดเสียงให้พร้อม
2. เสียบการ์ดลงในสล็อต PCI
! สังเกตุจะมีร่องอยู่ !
3. กดลงไปให้แน่น แล้วขันน็อตเพื่อยึดตัวน็อต
เข้ากับเคสให้แน่น
4. เสียบสายสัญญาณเสียงเข้ากับขาต่อบนการ์ด
เสียง(เสียบกลับด้านได้)
5. ให้นำปลายสายอีกด้านของสายสัญญาณเสียง
เสียบเข้ากับช่องรับท้านไดร์ฟซีดีรอม
7.11 การเลือกซื้อการ์ดเสียง
การเลือกซื้อการ์ดเสียง ซาวน์ดการ์ดกันมากขึ้นแล้วนะครับ และการที่จะเลือกซื้อซาวน์ดการ์ดนั้นก็คงจะไม่ต่างอะไรกับอุปกรณ์อื่นๆ คือต้องรู้ก่อนว่าจะนำซาวน์ดการ์ดนี้ไปใช้งานเกี่ยวกับประเภทใด เพื่อที่จะได้เลือกซาวน์ดการ์ดที่เหมาะสมกับการใช้งานของท่านเช่นถ้าต้องการซาวน์ดการร้องรำทำเพลงอย่างพวกคาราโอเกะ หรือสำหรับการฟังเพลงเราก็ไม่จำเป็นต้องไปเลือกซาวน์ดการ์ดที่มีการรองรับ ระบบเสียงหลายช่อง แต่ให้มองหาซาวน์ดการ์ดที่มีค่า SNR สูงๆ เข้าไว้ ค่า SNRก็คือ Signal to Noise Ratio ทั้งในส่วนของอินพุตและเอาต์พุต ถ้าต้องการซาวน์ดการ์ดเพื่อการเล่นเกมก็ควรเลือกการ์ดที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ เช่นรองรับระบบเสียงแบบสามมิติรอบทิศทาง รองรับเทคโนโลยี EAX เป็นต้น
ข้อคิดก่อนซื้อ เพื่อให้คุ้มค่าที่สุด
อันดับ แรก คุณต้องคิดก่อนว่าคุณจะนำไปใช้งานหนักหนาสาหัสขนาดไหน บางคนอาจนำไปใช้แค่ดูหนัง ฟังเพลงทั่วไป แบบนี้ ใช้ Sound on Board ก็ได้สบายๆ ไม่ว่าจะเป็น AC 97 ยอดนิยม หรือของ Intel , Max ก็ไม่มีปัญหาอะไร บางคนอาจใช้แค่เขียน MIDI เท่านั้น หรือบางคนอาจใช้ทำ Sampling แปลงMIDI -> WAVE ด้วย plugin ตัวเล็กๆ ง่ายๆ ก็ยังไหวนะครับ ทำทีละไลน์ก็แล้วกันนะครับ
ถ้า หากคุณคิดจะนำไปใช้บันทึกเสียงเล็กๆน้อยๆด้วย เช่น อัดกีต้าร์เข้าไปทีละไลน์ หรือจะทำ Samplign กับ Sound ขนาดใหญ่ๆ ขนาด 1 GB ขึ้นไป ขืนยังใช้Sound on Board อยู่ ไม่ไหวแน่ๆครับ ยิ่งจะMixเสียงที่มีหลายๆไลน์ ก็สะดุด หรือมีเสียงแแปลกๆแทรกแล้วครับ (sound card ประมวลผลไม่ไหว) แบบนี้ คงต้องมองหา Sound Card ดีๆมาใช้ ถ้างบน้อย จะใช้ Creative Sound Blaster Liveก็ไม่แพงครับ อย่างรุ่น 5.1 ใหม่ๆ ยังแค่ 1000 บาทเองครับ รุ่น 7.1 น่าจะหาได้ไม่เกิน 1500 บาท
หาก ต้องการเล่นเอฟเฟคกีต้าร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์สดๆ แบบ Real Time เลย กับโปรแกรมพวก Amplitube Live หรือตัวโหดอย่าง GuitarRig ก็ไม่ไหวแล้วล่ะครับ ต้องหา Sound Card ที่ประมวลผลเร็วกว่านั้นอีก โดยให้พิจารณาค่าLatency (ความหน่วงเสียง) ด้วย ควรน้อยกว่า 5 ms หรือจะให้ดี ก็เป็น 0 ไปเลย สำหรับราคานั้น ผมแนะนำให้เริ่มจาก Creative รุ่น Audigy รหัส ES ที่รองรับASIO 2.0 และสามารถปรับ latency ให้ต่ำกว่ากว่า 5 ms ได้ ซึ่งเจ้าตัวนี้ก็ไม่แพงครับ ราคา 2 พันกว่าบาทเอง หากมีเงินจะเอาระดับ 5 พันกว่าบาทขึ้นไปก็ได้ครับ ส่วนใหญ่จะมี latency = 0 ทั้งนั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น